วันพฤหัสบดีที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2560

To do test #5

To do test #5


รูปที่1 ภาพประกอบ
  • ระบบสต๊อกสินค้า
    • ระบบสต๊อกสินค้าจะช่วยในการจัดการเกี่ยวกับสินค้าให้มีความสะดวกมากยิ่งขึ้นโดยจะช่วยในการจัดเก็บข้อมูลของสิ่นค้าเเต่ละอย่างให้สามารถตรวจสอบเเละปรับเเก้ได้ง่ายเพื่อให้ทราบถึงจำนวนสินค้าที่มีอยู่ ราคา เเละรายละเอียดต่างๆ เป็นต้น

    ER DIAGRAM #3

    • จากแนวคิดข้างต้นจึงได้ทำการเพิ่ม Entity สต๊อกสินค้า เข้าไปยัง ER DIAGRAM ที่ได้ออกเเบบมาก่อนหน้านี้จะได้ดั้งรูป
    รูปที่2 เเสดงตำเเหน่งที่จะเพิ่มข้อมูล
    รูปที่3 เเสดง Entity สต๊อกสินค้าที่เพิ่มเข้าไป
      • เอนทิตี้ของสต๊อกสินค้าจะเก็บข้อมูลของสินค้าเเต่ล่ะชิ้นว่ามี จำนวนกี่ชิ้น ราคาเท่าไหร เพื่อช่วยให้ผู้ขายสามารถที่จะทำการวางเเผนการขายเเละจัดการกับสิ้นค้าได้สะดวกมากยิ่งขึ้น

    อธิบายความสัมพันธ์ของ ER DIAGRAM 

    • ความสัมพันธ์ของ ร้านค้า กับ สต๊อกสินค้า มีความสัมพันธ์กันดั้งนี้ : ร้านค้าหนึ่งร้านสามารถที่จะมีการสต๊อกสินค้าได้มากกว่าหนึ่งชิ้น
    รูปที่4 แสดงความสัมพันธ์ของ ร้านค้า กับ สต๊อกสินค้า
      • Degree : Binary relationship เป็นความสัมพันธ์ที่มี Entity เกี่ยวข้องด้วย 2 Entity คือ ร้านค้า กับ สต๊อกสินค้า
      • Participation : Partial ในฝั่งของร้านค้าเพาระร้านค้าจะมีสต๊อกสินค้า หรือไม่มีก็ได้ เเละเป็น Total ในฝั่งของสต๊อกสินค้า เพราะสต๊อกสินค้า จำเป็นที่จะต้องอยู่ในร้านค้าใดร้านค้าหนึ่ง
      • Cardinality : เป็นแบบ 1 : N เพราะร้านค้าหนึ่งร้านสามารถที่จะมีการสต๊อกสินค้าได้หลายอย่าง


    วันจันทร์ที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2560

    To do test #4

    To do test #4

    รูปที่1 ภาพประกอบ
    • เเนวคิดในการค้นหาข้มูลภายในเว็บ
      • ก่อนอื่นต้องทราบก่อนว่ามื่อผู้ประกาศขายจะทำการประกาศขายจะต้องทำตามขั้นตอนดังนี้
        • เขียนประกาศ
        • รอการตรวจสอบประกาศจากผู้ดูเเลระบบ
        • รอประกาศอนุมัติ
      • จากขั้นตอน รอการตรวจสอบประกาศจากผู้ดูเเลระบบ นั้นเองที่ผู้ดูเเลระบบจะทำการตรวจสอบขอมูลเเละความถูกต้องของประกาศเมื่อผ่านการตรวจสอบข้มจะถูกที่การเเสดงให้เห็นผ่านทางหน้าเว็บพร้อมกันนี้ระบบจะทำการตัดคำเเละทำการสร้าง index ของคำนั้นขึ้นมาเพื่อใช้ในการค้นหาของผู้ซื้อเเละจัดการเเสดงผลตามลำดับดังนี้

      ออกเเบบ ER DIAGRAM การค้นหา #1

      • จากแนวคิดข้างต้นสามารถเขียน ER DIAGRAM ได้ดั้งรูป
      รูปที่2 แสดง ER DIAGRAM ที่ออกแบบได้
        • เอนทิตี้ ของคำใช้ในการเก็บคำเพียงคำเดียวเพื่อใช้ในการอางอิงไปยัง index ของคำๆนั้นว่าอยู่ที่ประกาศขายไหนบ้าง
        • เอนทิตี้ ของตำเเหน่งใช้ในการเก็บข้อมูลของตำเเหน่งที่คำๆนั้นอยู่

      อธิบายความสัมพันธ์ของ ER DIAGRAM 

      • ความสัมพันธ์ของ คำ กับ ตำเเหน่ง มีความสัมพันธ์กันดั้งนี้ : คำหนึ่งคำสามารถที่จะอยู่ได้ในหลายๆประกาศ
      รูปที่3 แสดงความสัมพันธ์ของ คำ กับ ตำเเหน่ง
        • Degree : Binary relationship เป็นความสัมพันธ์ที่มี Entity เกี่ยวข้องด้วย 2 Entity คือ คำ กับ ต่ำเเหน่ง 
        • Participation : เป็น Total ทั้งสองฝั่งเพราะในการเก็บคำ จำเป็นที่จะต้องมีต่ำเเหน่งของคำๆนั้นด้วย
        • Cardinality : เป็นแบบ 1 : N เพราะคำหนึ่งคำสามารถมีได้หลายตำเเหน่ง

      ER DIAGRAM TO RELATIONS #1

      • Step 1: Mapping Entity
        • words (คำ)
      รูปที่4 Mapping Entity words  (คำ)
        • index (ตำเเหน่ง)
      รูปที่5 Mapping Entity index  (ตำเเหน่ง)
      • Step 2: Mapping Weak Entity
        • ไม่มี
      • Step 3: Mapping One - to - One Relation
        • ไม่มี
      • Step 4: Mapping One - to - Many Relation
        • ในการแปลง Relational 1:N จะทำโดยการเลือกเพิ่มข้อมูลด้าน N โดยเลือก Pimary key ของอีกฝั่งมาเพิ่มในตารางฝั่ง N
      รูปที่6 Mapping  words กับ index เเบบ 1:N
      • Step 5: Mapping Many - to - Many Relation
        • ไม่มี
      • Step 6: Mapping Multivalued Attribute
        • ไม่มี
      • Step 6: Mapping of N-ary relation type
        • ไม่มี


      To do test #3

      To do test #3

      รูปที่1 แสดง ER DIAGRAM ที่ออกแบบได้ครั้งเเรก 
      • จากเเนวคิดในการออกเเบบเว็บฝากขายสินค้าออนไลน์ คือ
        • เมื่อสมาชิกทำการลงทะเบียนกับเว็บไซต์ของเราเเล้ว สมาชิกทุกคนจะมีหน้าร้านเป็นของตัวเอง เพื่อให้สมาชิกแต่ละคนสามารถประกาศขายสินค้าได้ โดยที่สมาชิกสามารถที่จะประกาศขายสินค้าได้มากกว่าหนึ่งขิ้น และในประกาศขายสินค้าสามารถที่จะใส่รายละเอียดของสินค้าได้คือ ชื่อสินค้า ราคาสินค้า รายละเอียดสินค้า และรูปภาพสินค้า โดยที่สินค้าหนึ่งชิ้นสามารถที่จะมีรูปภาพประกอบได้มากกว่าหนึ่งรูปและสินค้าแต่ละชิ้นสามารถที่จะเเสดงความคิดเห็นได้ในรูปแบบของประกาศสินค้าที่เป็นกลุ่ม และยังสามารถที่จะแสดงความคิดเห็นในรูปภาพแต่ละรูปได้อีกด้วย สินค้าหนึ่งชิ้นจำเป็นที่จะต้องมีรูปภาพประกอบอย่างน้อยหนึ่งรูป ในส่วนของร้านค้าสามารถที่จะตั้งชื่อร้านได้ ใส่รายละเอียดของร้านได้ รวมถึงวิธีการติดต่อกับผู้ขายว่าสามารถติดต่อได้ทางไหนบ้าง โดยอาจจะมีมากกว่าหนึ่งช่องทาง ในส่วนของของมูลผู้ขายจะต้องยืนยันข้อมูลจำนวนสามอย่างคือ เบอร์โทรศัพท์ เลขบัญชีธนาคาร เลขบัตรประชาชน เพื่อเป็นการสร้างความน่าเชื่อถือระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย ทั้งนี้ผู้ขายจะใส่หรือไม่ใส่ก็ได้

        ER DIAGRAM #2

        • จากแนวคิดข้างต้นได้ทำการเขียน ER DIAGRAM ครั้งเเรกปรากฏว่ายังเก็บข้อมูลไม่ครบถ้วนจึงได้ทำการปรับเเก้โดยการเพิ่มเอนทิตี้ ประวัติการซื้อ-ขาย เข้าไปเผื่อทำการเก็บข้อมูลของการ ซื้อ-ขาย ในเเต่ล่ะครั้งเผื่อนำข้อมูลที่ได้มาคำนวณหา เครดิตการซื้อ เเละ เครดิตการขาย ของผู้ใช้งานเเต่ล่ะคนเผื่อเเสดงต่อไป
        รูปที่2 แสดง ER DIAGRAM ที่เพิ่ม เอนทิตี้ ประวัติการซื้อ-ขาย เเล้ว
        • เพิ่มแอททริบิวให้กับเอนทิตี้สินค้าเพื่อเก็บข้อมูลของวันเวลาที่ประกาศขายสินค้า จำนวนการเข้าชมสินค้า เเละประเภทของสินค้าเผื่อใช้ในการกรองข้อมูลในการค้นหาสินค้าที่ต้องการต่อไป
        รูปที่3 แสดง ER DIAGRAM ที่เพิ่มแอททริบิวให้กับเอนทิตี้สินค้า

        อธิบายความสัมพันธ์ของ ER DIAGRAM ที่เพิ่มเข้ามาใหม่

        • ความสัมพันธ์ของ ผู้ขาย กับ ประวัติการซื้อ-ขาย มีความสัมพันธ์กันดั้งนี้ : ผู้ขายหนึ่งคนสามารถที่จะมีประวัติการซื้อ-ขายได้หลายครั้ง
        รูปที่4 แสดงความสัมพันธ์ของ ผู้ขาย กับ ประวัติการซื้อ-ขาย
          • Degree : Binary relationship เป็นความสัมพันธ์ที่มี Entity เกี่ยวข้องด้วย 2 Entity คือ ผู้ขาย กับ ประวัติการซื้อ-ขาย
          • Participation : Partial ในฝั่งของผู้ขายเพราะผู้ขายอาจจะมีหรือไม่มี ประวัติการซื้อ-ขาย ก็ได้ และ Total ในฝั่งของประวัติการซื้อ-ขาย เพราะหลังจากมีการซื้อขายจำเป็นที่จะต้องเก็บประวัติทุกครั้ง 
          • Cardinality : เป็นแบบ 1 : N เพราะผู้ขายหนึ่งคนสามารถที่จะมีประวัติการซื้อ-ขาย ได้มากกว่าหนึ่งครั้ง 



        วันจันทร์ที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

        To do test #2

        To do test #2

        รูปที่1 แสดง ER DIAGRAM
        • จาก ER model จะเห็นได้ว่ามีทั้งหมด 7 Entity คือ info (ข้อมูล), customer (ลูกค้า), store (ร้านค้า), product (สินค้า), product_comment (ความคิดเห็นสินค้า), img_comment (ความคิดเห็นรูป) เเละ img (รูปภาพ) ในขั้นตอนนี้ จะเป็นการแปลง ER Diagram เป็น Relations จะได้ดังนี้

          ER DIAGRAM to relations #1

          • Step 1: Mapping Entity
            • info (ข้อมูล)
          รูปที่2 Mapping Entity info (ข้อมูล)
            • customer (ลูกค้า)
          รูปที่3 Mapping Entity customer (ลูกค้า)
            • store (ร้านค้า)
          รูปที่4 Mapping Entity store (ร้านค้า)
            • product (สินค้า)
          รูปที่5 Mapping Entity product (สินค้า)
            • product_comment (ความคิดเห็นสินค้า)
          รูปที่6 Mapping Entity product_comment (ความคิดเห็นสินค้า)
            • img_comment (ความคิดเห็นรูป)
          รูปที่7 Mapping Entity img_comment (ความคิดเห็นรูป)
            • img (รูปภาพ)
          รูปที่8 Mapping Entity img (รูปภาพ)
            • จะได้ Relations ทั้งหมดดังต่อไปนี้
          รูปที่9 Relations ทั้งหมด
          • Step 2: Mapping Weak Entity
            • ไม่มี
          • Step 3: Mapping One - to - One Relation
            • ในการแปลง Relational 1:1 จะทำโดยการเลือก Pimary key ของฝั่งใดฝั่งหนึ่งมาเพิ่มเป็น Foreign key ของอีกฝั่ง
          รูปที่10 Mapping ข้อมูล กับ ลูกค้า  
          รูปที่11 Mapping ข้อมูล กับ ลูกค้า  
          รูปที่12 Mapping ลูกค้า กับ ร้านค้า
          รูปที่13 Mapping ลูกค้า กับ ร้านค้า
          • Step 4: Mapping One - to - Many Relation
            • ในการแปลง Relational 1:N จะทำโดยการเลือกเพิ่มข้อมูลด้าน N โดยเลือก Pimary key ของอีกฝั่งมาเพิ่มในตารางฝั่ง N
          รูปที่14 Mapping ลูกค้า กับ สินค้า

          รูปที่15 Mapping ลูกค้า กับ สินค้า

          รูปที่16 Mapping สินค้า กับ ความคิดเห็นสินค้า

          รูปที่17 Mapping สินค้า กับ ความคิดเห็นสินค้า

          รูปที่18 Mapping สินค้า กับ รูปภาพ

          รูปที่19 Mapping สินค้า กับ รูปภาพ

          รูปที่20 Mapping สินค้า กับ ร้านค้า

          รูปที่21 Mapping สินค้า กับ ร้านค้า

          รูปที่22 Mapping รูปภาพ กับ ความคิเห็นรูป

          รูปที่23 Mapping รูปภาพ กับ ความคิเห็นรูป
          • Step 5: Mapping Many - to - Many Relation
            • ไม่มี
          • Step 6: Mapping Multivalued Attribute
            • ในการแปลงMultivalued Attribute สามารถทำได้โดยการสร้างเป็นตารางใหม่ขึ้นมาหนึ่งตารางจากนั้นให้นำ Attribute มาใส่ เเละใช้ key ของตารางหลักมาเป็น foreign key ของตารางใหม่
          รูปที่24 Multivalued Attribute

          รูปที่25 Multivalued Attribute

          รูปที่26 Multivalued Attribute

          To do test #1

          To do test #1

          • เเนวคิดในการออกเเบบเว็บฝากขายสินค้าออนไลน์
            • เมื่อสมาชิกทำการลงทะเบียนกับเว็บไซต์ของเราเเล้ว สมาชิกทุกคนจะมีหน้าร้านเป็นของตัวเอง เพื่อให้สมาชิกแต่ละคนสามารถประกาศขายสินค้าได้ โดยที่สมาชิกสามารถที่จะประกาศขายสินค้าได้มากกว่าหนึ่งขิ้น และในประกาศขายสินค้าสามารถที่จะใส่รายละเอียดของสินค้าได้คือ ชื่อสินค้า ราคาสินค้า รายละเอียดสินค้า และรูปภาพสินค้า โดยที่สินค้าหนึ่งชิ้นสามารถที่จะมีรูปภาพประกอบได้มากกว่าหนึ่งรูปและสินค้าแต่ละชิ้นสามารถที่จะเเสดงความคิดเห็นได้ในรูปแบบของประกาศสินค้าที่เป็นกลุ่ม และยังสามารถที่จะแสดงความคิดเห็นในรูปภาพแต่ละรูปได้อีกด้วย สินค้าหนึ่งชิ้นจำเป็นที่จะต้องมีรูปภาพประกอบอย่างน้อยหนึ่งรูป ในส่วนของร้านค้าสามารถที่จะตั้งชื่อร้านได้ ใส่รายละเอียดของร้านได้ รวมถึงวิธีการติดต่อกับผู้ขายว่าสามารถติดต่อได้ทางไหนบ้าง โดยอาจจะมีมากกว่าหนึ่งช่องทาง ในส่วนของของมูลผู้ขายจะต้องยืนยันข้อมูลจำนวนสามอย่างคือ เบอร์โทรศัพท์ เลขบัญชีธนาคาร เลขบัตรประชาชน เพื่อเป็นการสร้างความน่าเชื่อถือระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย ทั้งนี้ผู้ขายจะใส่หรือไม่ใส่ก็ได้ 

            Er diagram #1

            • จากแนวคิดข้างต้นสามารถเขียน ER DIAGRAM ได้ดั้งรูป
            รูปที่1 แสดง ER DIAGRAM ที่ออกแบบได้

            อธิบายความสัมพันธ์ของ ER DIAGRAM 

            • ความสัมพันธ์ของ ข้อมูล กับ ลูกค้า มีความสัมพันธ์กันดั้งนี้ : ลูกค้าหนึ่งคนสามารถที่จะมีข้อมูลได้แค่หนึ่งชุดข้อมูลเท่านั้น และลูกค้าจะยืนยันตัวตนหรือไม่ยืนยันก็ได้ 
            รูปที่2 แสดงความสัมพันธ์ของ ข้อมูล กับ ลูกค้า
              • Degree : Binary relationship เป็นความสัมพันธ์ที่มี Entity เกี่ยวข้องด้วย 2 Entity คือ ข้อมูล กับ ลูกค้า 
              • Participation : Partial ในฝั่งของลูกค้าเพราะลูกค้าไม่จำเป็นที่จะต้องยืนยันข้อมูลคือ จะยืนยันหรือไม่ยืนยันก็ได้ และ Total ในฝั่งของข้อมูลเพราะถ้าลูกค้ายืนยันจำเป็นต้องมีข้อมูลดังกล่าว 
              • Cardinality : เป็นแบบ 1 : 1 เพราะลูกค้าหนึ่งคนจะมีข้อมูลเพียงหนึ่งชุดเท่านั้น

            • ความสัมพันธ์ของ ลูกค้า กับ สินค้า มีความสัมพันธ์กันดั้งนี้ : ลูกค้าหนึ่งคนสามารถที่จะประกาศขายสินค้าได้หลายชนิดและจะประกาศขายหรือไม่ประกาศขายก็ได้
            รูปที่3 แสดงความสัมพันธ์ของ ลูกค้า กับ สินค้า
              • Degree : Binary relationship เป็นความสัมพันธ์ที่มี Entity เกี่ยวข้องด้วย 2 Entity คือ ลูกค้า กับ สินค้า 
              • Participation : Partial ในฝั่งของลูกค้าเพราะลูกค้าจะประกาศขายหรือไม่ประกาศขายสินค้าก็ได้ และเป็น Total ในฝั่งของสินค้าเพราะถ้าประกาศขายสินค้าจำเป็นที่จะต้องมีข้อมูลของสินค้า
              • Cardinality : เป็นแบบ 1 : N เพราะลูกค้าหนึ่งคนสามารถที่จะประกาศขายสิ้นค้าได้มากกว่าหนึ่งชิ้น

            • ความสัมพันธ์ของ สินค้า กับ ความคิดเห็น มีความสัมพันธ์กันดั้งนี้ : สินค้าหนึ่งชิ้นสามารถมีได้หลายความคิดเห็น และสินค้าแต่ละชิ้นอาจจะมีความคิดเห็นหรือไม่มีความคิดเห็นก็ได้
            รูปที่4 แสดงความสัมพันธ์ของ สินค้า กับ ความคิดเห็น
              • Degree : Binary relationship เป็นความสัมพันธ์ที่มี Entity เกี่ยวข้องด้วย 2 Entity คือ สินค้า กับ ความคิดเห็น 
              • Participation : Partial ในฝั่งของสินค้าเพราะสินค้าแต่ละชิ้นจะมีความคิดเห็นหรือไม่มีความคิดเห็นก็ได้ และเป็น Total ในฝั่งของความคิดเห็น
              • Cardinality : เป็นแบบ 1 : N เพราะสินค้าหนึ่งสินสามารถมีได้หลายความคิดเห็น

            • ความสัมพันธ์ของ ลูกค้า กับ ร้านค้า มีความสัมพันธ์กันดั้งนี้ : ลูกค้าหนึ่งคนสามารถที่จะมีร้านค้าได้หนึ่งร้านทันทีหลังจากที่สมัครสมาชิก
            รูปที่5 แสดงความสัมพันธ์ของ ลูกค้า กับ ร้านค้า
              • Degree : Binary relationship เป็นความสัมพันธ์ที่มี Entity เกี่ยวข้องด้วย 2 Entity คือ ลูกค้า กับ ร้านค้า 
              • Participation : เป็นแบบ Total ทั้งสองฝั่งเพราะลูกค้าจำเป็นที่จะต้องมีร้านค้าเพื่อประกาศขายสินค้าของตัวเอง และบริหารจัดหารด้วยตัวเอง
              • Cardinality : เป็นแบบ 1 : 1 เพราะลูกค้าหนึ่งคนสามารถที่จะเป็นเจ้าของร้านค้า ได้แค่หนึ่งร้านค้าเท่านั้น

            • ความสัมพันธ์ของ สินค้า กับ ร้านค้า มีความสัมพันธ์กันดั้งนี้ : สินค้าแต่ละชนิดจำเป็นที่จะต้องมีร้านค้าที่ประกาศขาย โดยที่ร้านค้าหนึ่งร้านสามารถที่จะมีสินค้าอยู่ในร้านค้านั้นๆได้มากกว่าหนึ่งชิ้น
            รูปที่6 แสดงความสัมพันธ์ของ สินค้า กับ ร้านค้า
              • Degree : Binary relationship เป็นความสัมพันธ์ที่มี Entity เกี่ยวข้องด้วย 2 Entity คือ สินค้า กับ ร้านค้า 
              • Participation : เป็นแบบ Total ทั้งสองฝั่งเพราะสินค้าจำเป็นที่จะต้องอยู่ในร้านค้า และร้านค้าจำเป็นที่จะต้องมีสินค้า
              • Cardinality : เป็นแบบ N : 1 เพราะร้านค้าหนึ่งร้านสามารถที่จะมีสินค้าอยู่ในร้านค้าได้มากกว่าหนึ่งชิ้น 

            • ความสัมพันธ์ของ รูปภาพ กับ สินค้า มีความสัมพันธ์กันดั้งนี้ : สินค้าหนึ่งชิ้นจำเป็นที่จะต้องมีรูปภาพอย่างน้อยหนึ่งรูป 
            รูปที่7 แสดงความสัมพันธ์ของ รูปภาพ กับ สินค้า
              • Degree : Binary relationship เป็นความสัมพันธ์ที่มี Entity เกี่ยวข้องด้วย 2 Entity คือ รูปภาพ กับ สินค้า
              • Participation : เป็นแบบ Total ทั้งสองฝั่งเพราะสินค้าจำเป็นที่จะต้องมีรูปภาพประกอบอย่างน้อยหนึ่งรูป และรูปภาพจะระบุถึงสินค้าชนิดนั้นๆ
              • Cardinality : เป็นแบบ 1 : N เพราะาสินค้าหนึ่งชิ้นสามารถมีรูปภาพประกอบได้มากกว่าหนึ่งรูป

            • ความสัมพันธ์ของ รูปภาพ กับ ความคิดเห็นรูป มีความสัมพันธ์กันดั้งนี้ : รูปภาพหนึ่งรูปสามารถมีได้มากกว่าหนึ่งความคิดเห็น
            รูปที่8 แสดงความสัมพันธ์ของ รูปภาพ กับ ความคิดเห็น
              • Degree : Binary relationship เป็นความสัมพันธ์ที่มี Entity เกี่ยวข้องด้วย 2 Entity คือ รูปภาพ กับ สินค้า
              • Participation : Partial ในฝั่งของรูปภาพเพราะรูปภาพจะมีความคิดเห็นหรือไม่มีก็ได้และเป็น Total ในฝั่งของความคิดเห็น 
              • Cardinality : เป็นแบบ 1 : N เพราะรูปภาพหนึ่งรูปสามารถที่จะมีความคิดเห็นได้มากกว่าหนึ่งความคิดเห็น